แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2559

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ปกป้องคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของประเทศ และบริหารจัดการเพื่อเพิ่มพูนและแบ่งปันผลประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ โดยสอดคล้องกับแนวทางเศรษฐกิจสีเขียว

3.2 แผนปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ
ตัวชี้วัด

1 เพิ่มสมรรถนะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพจากฐานความหลากหลายทางชีวภาพ

2 มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ


แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
3.2.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยทรัพยากรชีวภาพ ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเชิงเศรษฐกิจ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรชีวภาพที่มีอยู่ โดยอาศัยองค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ 1. การศึกษาความคุ้มค่า (มูลค่าทางเศรษฐกิจ) ที่เป็นผลจากการสนับสนุนผู้ประกอบธุรกิจจากฐานชีวภาพ 1. ส่งเสริมธุรกิจระดับสูงเชิงพาณิชย์
2. การวิจัยและพัฒนาสวนป่าเชิงเศรษฐกิจและการใช้ไม้สวนป่าเพื่อชุมชนและอุตสาหกรรม
3. การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรพันธุกรรมของพันธุ์ไม้ยางรัก
4. การวิจัยและพัฒนาไผ่ตามแนวเศรษฐกิจสร้างสรรค์
5. การปรับปรุงพันธุ์ไม้สนประดิพัทธ์ ระยะที่ 2 สำหรับการปลูกสร้างสวนป่าเศรษฐกิจ
6. การศึกษาเชิงเศรษฐกิจด้านผลผลิตป่าไม้
7. การวิจัยและพัฒนาไม้หอมแก่นจันทร์เพื่อการค้า
8. การจัดการสวนป่าสักอย่างยั่งยืนเพื่อเกษตรกร
9. การใช้ประโยชน์ไม้สน 5 ชนิด ด้านพลังงานและเคมีภัณฑ์
10. การพัฒนาระบบการเพาะเลี้ยงและการใช้ประโยชน์ครั่ง
11. การเพิ่มมูลค่าเชิงเศรษฐกิจของไม้สนประดิพัทธ์ในอนาคต
12. การทดสอบพันธุกรรมและปรับปรุงพันธุ์ไม้ประดู่เพื่อการปลูกป่าเศรษฐกิจ
13. การวิจัยเห็ดป่ากินได้ชนิดเอคโตไมคอร์ไรซ่า
14. การเพิ่มศักยภาพในการใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าผลิตผลป่าไม้
15. การให้ทุนอุดหนุนกรอบงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานความหลากหลายทางชีวภาพ 1. การใช้ประโยชน์จากแมลงกินได้และแมลงสำคัญทางเศรษฐกิจของป่าชุมชน อ.บ้านฝาง และ อ.มัญจาคีรี ในโครงการ อพ.สธ. จังหวัดขอนแก่น
16. การวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์ไม้ไผ่เพื่อการพาณิชย์
17. วิจัยศึกษาพืชทดแทนพลังงาน
18. ศึกษาวิจัยและพัฒนาศักยภาพการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพเชิงพาณิชย์เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนท้องถิ่น 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์จากไหม
19. วิจัยและพัฒนาพืชสวนอุตสาหกรรม 1. วิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรม โดยการรวบรวมและ คัดเลือกสายต้นฟักข้าว สมอไทย สมอพิเภก สะมอเทศ มะขามป้อม หม่อน มะเดื่อชุมพร คนทา ชิงชี่ ย่านาง ไม้เท้ายายม่อม กระดม และชาสมุนไพร ศึกษาผลการเก็บรักษาและความคงตัวที่มี ต่อปริมาณน้ำมันหอมระเหย และการแปรรูป
2. โครงการวิจัยและพัฒนาระบบการผลิตพืชในพื้นที่ชุ่มน้ำเพื่อใช้ประโยชน์ด้านเกษตรและอุตสาหกรรม สำรวจรวบรวมพันธุ์กกจากแหบ่งปลูกในภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือ วิจัยและพัฒนาการ ผลิตกระจูด วิจัยและพัฒนาการผลิตหน่อไม้น้ำ วิจัยและพัฒนาการผลิตการผลิตเส้นใยธรรมชาติจาก ดาหลาและจาก และวิจัยและพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์คล้า และศึกษาข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ ประโยชน์เตยหนามและเตยทะเล
3. โครงการวิจัยการจัดทำมาตรฐานสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของผลิตผลทางการเกษตรจังหวัด อุตรดิตถ์ จัดทำแผนที่สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของทุเรียนพันธุ์หลงลับแลและพันธุ์หลินลับแล แผนที่ สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของลางสาดอุตรดิตถ์ และแผนที่สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของสับปะรดห้วยมุ่น
4. โครงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ด้านการเกษตร จัดกิจกรรม/ศึกษาดูงานด้านการรวบรวมและอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชสวนของศูนย์วิจัยพืชสวน 10 แห่ง ภายใต้โครงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ด้าน การเกษตรของกรมวิชาการเกษตร
20. วิจัยและพัฒนาพืชกลุ่มไม้ดอก ไม้ประดับ
21. วิจัยพัฒนาพืชเศรษฐกิจ: ยางพารา ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง อ้อย ลำใย ทุเรียน มังคุด สัปปะรด ถั่วเหลือง ส้มโอ มะพร้าวน้ำหอม พืชสมุนไพร พืชผักและเห็ด พืชไร่ และไม้ผลเศรษฐกิจอื่นๆ 1. งานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขยายและการใช้ประโยชน์ของชีวภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์
2. โครงการวิจัยและพัฒนาการเพิ่มมูลค่าขมิ้นชันด้วยนาโนเทคโนโลยี โดยทำให้ขมิ้นชันให้อยู่ในรูป ของสารสกัดขมิ้นชัน สารสกัดขมิ้นชันผง รวมทั้งเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพแบบพร้อมดื่มและแบบเข้มข้น โดยได้ทำการตรวจสอบปริมาณสารสำคัญใน ขมิ้นชันที่เป็นพันธุ์รับรองของกรมฯ พันธุ์ตรัง 1 การ ตรวจสอบปริมาณเคอร์คูมิน มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและการตรวจสอบตามมาตรฐาน
3. โครงการวิจัยศึกษาอัตลักษณ์กาแฟไทย ดำเนินการศึกษาลักษณะเฉพาะของกาแฟโรบัสตา
22. ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์ของจุลินทรีย์ด้านปศุสัตว์เพื่อคุ้มครองพันธุกรรมปศุสัตว์และเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์
23. ชุดโครงการความหลากหลายทางชีวภาพและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนจากพืชสมุนไพร และจุลินทรีย์ 1. การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากพืชในท้องถิ่นที่มีฤทธิ์ต้านการเจริญของเชื้อจุลชีพก่อโรค
2. คุณลักษณะและศักยภาพของเอ็นไซม์อัลคาไลน์โปรติเอสจากจุลินทรีย์ที่คัดเลือกจากป่าพื้นที่ปก ปักพันธุกรรมพืชสวนสัตว์อุบลราชธานี เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมผงซักฟอก
3. การย่อยสลายแป้งและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยราที่มีศักยภาพจากระบบนิเวศป่าพื้นที่ปก ปักพันธุกรรมพืชสวนสัตว์อุบลราชธานี
4. การผลิตลิปิดจากจุลินทรีย์ของเชื้อผสมแบบมิกโซโทรฟิคเมื่อใช้ของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเกษตร เป็นสารตั้งต้น: การประยุกต์ใช้เพื่อผลิตไบโอดีเซล
5. ราที่มีศักยภาพในอุตสาหกรรมการย่อยสลายแป้งและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจาก ระบบนิเวศวิทยาป่า
6. สัณฐานวิทยา สารลดคอเลสเตอรอลและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อราโมแนสคัส เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์
7. สัณฐานวิทยาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและสารพฤกษเคมีของดาดตะกั่ว
24. การวิจัยและพัฒนาไม้พะยูงเพื่อการปลูกป่าและใช้ ประโยชน์
25. ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเห็ดพื้นเมืองอีสานเพื่ออนุรักษ์และเสริมสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์
3.2.1.2 ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนสำหรับการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการอนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน 1. การถ่ายทอดเทคโนโลยีจากการวิจัยประโยน์ความหลากหลายทางชีวภาพสู่ผู้ประกอบการ 1. การศึกษาวิจัยจุลินทรีย์เพื่อการพัมนาเป็นเครื่องสำอางค์
แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
3.2.2.1 เสริมสร้างสมรรถนะในการพึ่งพาตนเองของชุมชนด้านเทคโนโลยี การผลิต และการตลาด ในการใช้ประโยชน์และการสร้างผลิตภัณฑ์จากความหลากหลายทางชีวภาพอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะการพัฒนาบ่มเพาะวิสาหกิจชุมชน ธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมให้เข้มแข็งในการผลิตสินค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน 1. การผลิตสินค้าและบริการชุมชนคุณภาพและสร้างวิสาหกิจชีวภาพเข้มแข็ง 1. การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ ปี 2559
2. ศึกษาพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนจากทรัพยากรชีวภาพทางด้านปศุสัตว์เชิงพาณิชย์
3. การขึ้นทะเบียนพันธุ์สัตว์พื้นเมืองประจำถิ่น
4. โครงการพัฒนาสัตว์เลี้ยงไทย
5. โครงการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ OTOP ด้วยหลักสูตรการบริหารจัดการนโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) 5 ภูมิภาค
6. การพัฒนาส่งเสริมอาชีพจากการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของสัตว์พื้นเมือง ผลิตเป็นสินค้าและบริการชุมชน ต่อยอดเป็นเชิงธุรกิจ
3.2.2.2 พัฒนาสมรรถนะในการแข่งขันของประเทศโดยการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเป็นฐานการผลิต การบริโภคสีเขียว การสร้างนวัตกรรม และการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ 1. ศึกษา จัดทำข้อเสนอแนะ และดำเนินการด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ /พัฒนากลไก กฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขข้อขัดข้องในการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ 1. การพัฒนากฎหมายสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ปี 2559
2. โครงการศูนย์ความเป็นเลิศในการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ 1. สถาบันเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio-Economy Academy) ปี 2559
3. ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสัตว์ป่า
4. การสร้างพันธมิตรและความร่วมมือกับต่างประเทศในการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ
5. การพัฒนาจับคู่ธุรกิจ และการศึกษาเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการโดยความร่วมมือกับเอกชน/ผู้ประกอบการ สถาบันการศึกษา บริการให้คำปรึกษาและบ่มเพาะธุรกิจ 1. พัฒนา Business @ Biodiversity Platform และ Business Biodiversity Check ปี 2559
2. พัฒนาองค์ความรู้และกลยุทธ์ในการบริหารจัดการนวัตกรรมในธุรกิจจากฐานชีวภาพ
6. ศึกษานโยบายและจัดทำข้อเสนอที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ เพื่อเตรียมความพร้อมของสินค้าชีวภาพทั้งในและต่างประเทศ 1. ศึกษาความคุ้มค่าจากการดำเนินงานของชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนจาก สพภ. ปี 2559
2. ส่งเสริมช่องทางธุรกิจจากฐานชีวภาพสมัยใหม่
7. โครงการศูนย์พัฒนาและส่งเสริมธุรกิจการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ
8. การพัฒนาตรารับรองและการรับรองผลิตภัณฑ์ชีวภาพ (Bioeconomy)
3.2.2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการเกษตร รวมถึงการนำนวัตกรรมมาใช้ทดแทนการนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ 1. สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในเชิงพาณิชย์
2. โครงการศูนย์นวัตกรรมการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์
3. การศึกษาแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (Bio-based Industry) ของประเทศไทย
4. จัดตั้งและดูแลศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย Thailand Bioresource Research Center (TBRC)
แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
3.2.3.3 ส่งเสริมการเรียนรู้ 1. ศึกษาและจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในเมือง 1. การจัดทำหนังสือ พรรณไม้ในแปลงวิจัยพลวัตป่ามอสิงโต “Flora of Mo Singto Forest Dynamics Plot, Khao Yai National Park, Thailand” ภาคภาษาอังกฤษ
2. โครงการพัฒนาสถาบันเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio-Economy Acadamy) เพื่อฝึกอบรมและแลกเปลี่ยนความรู้ในการประกอบธุรกิจชีวภาพ
3.2.3.1 พัฒนาฐานข้อมูล 1. การบูรณาการเครือข่ายสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น (Bio Gang)
2. โครงการพัฒนาศูนย์กลางข้อมูลเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพแห่งชาติ (National Bio-Economy Database Clearing House)
3. จัดทำสารานุกรมภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยและบัญชีรายการทรัพย์สินชีวภาพเพื่อเผยแพร่ 1. จัดทำหนังสือ พรรณไม้ในแปลงวิจัยพลวัตป่ามอสิงโต “Flora of Mo Singto Forest Dynamics Plot, Khao Yai National Park, Thailand” ภาคภาษาอังกฤษ
2. โครงการจัดทำฐานทรัพยากรนกในมหาวิทยาลัยขอนแก่น นักวิจัยสำรวจพบนกจำนวน ๒๐๗ ชนิด พบว่าเป็นนกประจำถิ่นจำนวน ๗๗ ชนิด นกอพยพจำนวน ๑๓๐ ชนิด ซึ่งมีทั้งที่เป็นนก อพยพผ่านและนกอพยพมาอาศัยอยู่ตลอดฤดูกาลอพยพ ปัจจุบันได้จัดทำการสำรวจรวบรวม ข้อมูลและภาพถ่ายเสร็จสิ้น และได้จัดพิมพ์หนังสือเผยแพร่ให้ความรู้ ชื่อ “คู่มือดูนก มหาวิทยาลัยขอนแก่น”
3.2.3.2 ศึกษาเพื่อการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้/ภูมิปัญญา 1. โครงการศึกษาพัฒนาต่อยอดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ 1. ดีเอ็นเอบาร์โค้ดของปลาอันดับปลาหนังในวงศ์ปลากด ปลาหวีเกศและปลาเนื้ออ่อนในระบบ แม่น้ำโขง แม่น้ำชี และแม่น้ำมูลในประเทศไทย
2. ความแปรผันของสัณฐานวิทยาความหลากหลายและโครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรปลา ขบ ในระบบแม่น้ำโขงชีมูล
3. ความหลากชนิดและเครื่องหมายทางพันธุกรรมดีเอ็นเอบาร์โค๊ดสำหรับการระบุชนิดแมลงวัน ผลไม้ในพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ
4. ความแปรผันและโครงสร้างพันธุศาสตร์ของปรงสามเหลี่ยมในประเทศไทย
5. เครื่องจักสานไม้ไผ่: ภูมิปัญญาการผลิตเครื่องจักสานแบบดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ
6. การศึกษารวบรวมองค์ความรู้และแนวทางพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนแบบมีส่วนร่วม เพื่อใช้ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สร้างมูลค่าเพิ่ม และการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงพาณิชย์ กรณีศึกษา ตำรับเครื่องหอมอีสานในกลุ่มชาติพันธุ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นต้น
7. แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนบนฐานการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพด้าน พืชพรรณของจังหวัดอ่างทอง
8. โครงการสำรวจ ทำรหัสต้นไม้ ทำรหัสพิกัด เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพื้นที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พื้นที่สวนร่มเกล้ากัลปพฤกษ์ และจัดทำฐานข้อมูลติดป้ายรหัสต้นไม้
2. โครงการศึกษาตลาดสินค้าผลิตภัณฑ์จากฐานชีวภาพ (ในประเทศ/ต่างประเทศ)
3. โครงการแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชวงศ์ขิง-ข่า การใช้ประโยชน์พืชสกุลมหาหงส์ เพื่อพัฒนาเป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ต้านการอักเสบ